crisis management

แนวทางรับมือวิกฤติบน social media

ในช่วงอาทิตย์ที่ผ่านมา นักการตลาดที่ติดตามข่าวสารบน social media น่าจะผ่านตาเคสวิกฤติบน social media ของสองแบรนด์ดังที่ทำให้ต้องย้อนกับมาดูวิธีการรับมือที่ถูกต้องเหมาะสม (crisis management) สำหรับทุกแบรนด์ แม้สองแบรนด์จะมีระดับความเสียหายในวงกว้างที่ต่างกันพอสมควร รวมถึงผลกระทบที่มีต่อลูกค้าแบบ 1:1 ก็แตกต่างมากเช่นเดียวกัน แต่การรับมือและการแสดงความรับผิดชอบของแต่ละแบรนด์ มีทั้งทำได้ดีและทำได้แย่ ยิ่งทำยิ่งพัง บทความนี้คงจะไม่สามารถลงระบุรายละเอียดของทั้งสองแบรนด์ได้ แต่ขอแนะนำแนวทางการทำ social media crisis management ที่เหมาะสมเพื่อถือให้เป็น case study ไม่ทำผิดแบบเดียวกับแบรนด์ที่กล่าวมา...

Case Study: แชตไม่เหมาะสมของพนักงานหลุด กลายเป็นไวรัลกระทบแบรนด์

กลุ่มไลน์ของหน่วยงานในองค์กรเป็นช่องทาง private ก็จริง แต่หากมีการพูดคุยหรือกระทำที่ไม่เหมาะสมก็อาจจะถูกคนในกลุ่มแคปหน้าจอไปปล่อยในช่องทาง public จนกลายเป็นไวรัลให้แบรนด์ต้องรับมือ crisis management ก็เป็นได้ เหมือนกรณีนี้ ก่อนอื่นต้องขอชื่นชมแบรนด์ที่รับมือและจัดการได้อย่างรวดเร็วจนสมควรนำมาเป็นกรณีศึกษาให้กับแบรนด์อื่นๆ ใช้เป็นแนวทางเผื่อต้องเจอกรณีคล้ายๆ กันนี้ในอนาคต เรื่องเกิดจากแชตใน Line Group สาขา เรื่องมีอยู่ว่า ในกลุ่มไลน์ของสาขาๆ หนึ่งของ Bar B Q Plaza ผู้จัดการสาขาโพสต์รูปไม่เหมาะสมลงในกลุ่ม เป็นเหตุให้นักศึกษาฝึกงานที่อยู่ในกลุ่มนี้รู้สึกโดนคุกคามทางเพศ จึงโพสต์กลับไปเพื่อแจ้งถึงความรู้สึกที่ไม่เหมาะสมนี้ ภาพจาก...

Social Crisis Management ที่ล้มเหลวระดับโลก D&G v. People of China

November 25, 2018 Consultancy 0 Comments

กระแสดราม่าดังระดับโลกฮอตที่สุดในสัปดาห์ที่ผ่านมาของแบรนด์ดัง Dolce and Gabbana แสดงถึงความล้มเหลวครั้งยิ่งใหญ่ของแบรนด์ในการทำ crisis management บน social media เรื่องเกิดจากวิดีโอ 3 ตัวที่นำเสนอนางแบบชาวจีนใช้ตะเกียบกินอาหารอิตาเลี่ยนอย่างทุลักทุเล เช่น พาสต้าและพิซซ่า โดยความตั้งใจของ D&G คืออยากนำเสนอวัฒนธรรมจีนผสมผสานกับวัฒนธรรมอิตาเลี่ยนต้นกำเนิดแบรนด์ D&G แต่ผิดมหันต์ด้าน Tone & Taste ทำให้ชาวจีนรู้สึกถึงการเหยียดเชื้อชาติ (racism) แถมมีความไม่เหมาะสมในใช้ภาพการใช้ตะเกียบแยกข้างกินอาหารสองมือที่คนจีนถือ ทำให้เกิดกระแสต่อต้านเป็นวงกว้างในสื่อ social ของจีน...